History

The Asia Region Funds Passport is a region-wide initiative being led by Australia, New Zealand, the Republic of Korea, Japan and Thailand.

The Asia Region Funds Passport was recommended by the Australian Financial Centre Forum in its 2010 report (known as the Johnson report).

To develop and gauge regional interest in the concept, the Asia Region Funds Passport was explored through the Asia-Pacific Economic Cooperation (APEC) Finance Ministers’ Process. This provided a region-wide working platform to collaborate with finance policy makers, regulators, industry and technical experts in forums such as policy dialogues and capacity building workshops.

Following workshops with members of a number of APEC economies, these economies were invited to form a working group that would develop the detailed technical arrangements. Australia, Republic of Korea, New Zealand and Singapore accepted this invitation. Thailand, Japan and the Philippines later joined the group.

On 20 September 2013, finance ministers from Australia, Republic of Korea, New Zealand and Singapore signed a Statement of Intent in Nusa Dua, Bali, Indonesia for the Asia Region Funds Passport. The statement outlines an undertaking by signatories to publicly consult on detailed passport arrangements and sets out a process to see the Asia Region Funds Passport implemented.

Ministers representing the governments of Australia, Japan, the Republic of Korea, New Zealand, Thailand and the Philippines signed the Statement of Understanding on 11 September 2015. The statement signalled the commitment of these economies to join the Asia Region Funds Passport. The statement also noted the intention of signatories to ensure that all APEC economies were able to participate in the Asia Region Funds Passport when appropriate to their circumstances.

Representatives from the governments of Australia, Japan, the Republic of Korea and New Zealand signed the Memorandum of Cooperation on 28 April 2016. Thailand signed subsequently. The Memorandum of Cooperation sets out the internationally agreed rules and cooperation mechanisms underpinning the Asia Region Funds Passport. The Memorandum of Cooperation came into effect on 30 June 2016. The Asia Region Funds Passport milestones can be viewed on the Milestones page of this website.

Information about members of the Asia Region Funds Passport, and how economies can join the Asia Region Funds Passport, is available on the Membership of the Asia Region Funds Passport page on this website.


歴史

アジア地域ファンドパスポートは、オーストラリア、ニュージーランド、韓国、日本、タイによるアジア地域全体のイニシアティブです。

アジア地域ファンドパスポートは、オーストラリア金融センターフォーラムによる2010年の報告書(ジョンソンレポート)において提唱されました。

このコンセプトに対するアジア地域の関心を探るべく、アジア地域ファンドパスポートはAPEC財務大臣会合において議論が開始されました。これにより、政策対話やキャパシティ・ビルディング・ワークショップなどの、金融政策立案者、監督者、業界そして技術専門家が共同するアジア地域にまたがる作業プラットフォームがもたらされました。

多くのAPECエコノミーを交えたワークショップの後、具体的な仕組みを作り上げるべく、作業部会が設立されました。まずオーストラリア、韓国、ニュージーランド、シンガポールが、続いてタイ、日本、フィリピンが作業部会に参加しました。

2013年9月20日、オーストラリア、韓国、ニュージーランド、シンガポールの財務大臣はインドネシアのバリ、ヌサドウァにおいてアジア地域ファンドパスポートにかかる意図表明文書(Statement of Intent)に署名を行いました。当該文書においては、パスポートに関する具体的な取り決めにつき署名者による市中協議が実施されることや、アジア地域ファンドパスポートの導入状況を確認するプロセスが確認されました。

2015年9月11日、オーストラリア、日本、韓国、ニュージーランド、タイ、フィリピンの政府を代表する財務大臣は、アジア地域ファンドパスポートにかかる参加表明文書(Statement of Understanding)に署名を行い、アジア地域ファンドパスポートに加入することを表明しました。また、全てのAPECエコノミーが各々の適切なタイミングでアジア地域ファンドパスポートに参加できることを確保することも確認されました。

2016年4月28日、オーストラリア、日本、韓国、ニュージーランドの政府の代表は、アジア地域ファンドパスポートの創設及び実施にかかる協力覚書(Memorandum of Cooperation: MoC)に署名を行い、タイもこれに次いで署名を行いました。協力覚書はアジア地域ファンドパスポートにおいて国際的に合意されたルール及び協力メカニズムを示すものであり、2016年6月30日に効力を生じました。アジア地域ファンドパスポートのこれまでの軌跡は、当ウェブサイトのMilestonesのページからご覧いただけます。

アジア地域ファンドパスポートの参加メンバーにかかる情報や、パスポートへの参加の方法についての情報は、当ウェブサイトのMembership of the Asia Region Funds Passportのページからご覧いただけます。


ความเป็นมา

โครงการจัดการกองทุนรวมในภูมิภาคเอเชียข้ามพรมแดน (Asia Region Funds Passport: ARFP) เป็นโครงการความร่วมมือในระดับพหุภาคีที่ริเริ่มโดยออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ เกาหลีใต้ ญี่ปุ่น และไทย ซึ่งเริ่มต้นมาจากคำแนะนำของ Australian Financial Centre Forum จากรายงานเมื่อปี 2553 (หรือที่รู้จักกันในนาม Johnson report)

ในช่วงแรก โครงการ ARFP ได้ริเริ่มภายใต้กระบวนการของการประชุมรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังในกลุ่มประเทศเอเปค (Asia-Pacific Economic Cooperation (APEC)) เพื่อหาแนวร่วมจากประเทศในกลุ่มเอเปคที่สนใจ ซึ่งถือเป็นการประชุมระดับภูมิภาคที่มีส่วนช่วยสนับสนุนให้เกิดเวทีความร่วมมือระหว่างผู้กำหนดนโยบาย (policy maker) ผู้กำกับดูแล (regulator) ภาคธุรกิจ (business) และผู้เชี่ยวชาญ (technical expert) เช่น เวทีหารือและแลกเปลี่ยนเชิงนโยบาย (policy dialogue) และการอบรมเชิงปฏิบัติการ (capacity building workshops)

จากการทำ workshop ร่วมกันหลายครั้งระหว่างสมาชิกจากประเทศในกลุ่มเอเปค จีงได้พัฒนามาเป็นการจัดตั้งคณะทำงานเพื่อหารือแนวทางการจัดทำข้อกำหนดทางเทคนิค (technical arrangement) ในรายละเอียด โดยมีออสเตรเลีย เกาหลีใต้ นิวซีแลนด์ และสิงคโปร์ เข้าร่วมคณะทำงานในช่วงแรก ตามด้วยไทย ญี่ปุ่น และฟิลิปปินส์

เมื่อวันที่ 20 กันยายน 2556 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังจาก 4 ประเทศ ได้แก่ ออสเตรเลีย เกาหลีใต้ นิวซีแลนด์ และสิงคโปร์ ได้ลงนามใน Statement of Intent ในที่ประชุมรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังเอเปค ซึ่งจัดขึ้น ณ เกาะบาหลี ประเทศอินโดนีเซีย เพื่อแสดงเจตจำนงที่จะเข้าร่วมโครงการ ARFP และหาแนวทางการเตรียมรองรับการเสนอขายกองทุนรวมระหว่างกัน

ต่อมาเมื่อวันที่ 11 กันยายน 2558 ได้มีการลงนามใน Statement of Understanding ร่วมกันโดยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังจาก 6 ประเทศ ได้แก่ ออสเตรเลีย ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ นิวซีแลนด์ ฟิลิปปินส์ และไทย ในระหว่างการประชุมรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังเอเปค ณ เมืองเซบู ประเทศฟิลิปปินส์ เพื่อตอกย้ำเจตจำนงในการเข้าร่วมโครงการ ARFP ส่วนกรณีของประเทศอื่นในเอเปคนั้นสามารถเข้าร่วม ARFP ได้ภายหลังเมื่อพร้อม

เมื่อปลายเดือนเมษายน 2559 ก.ล.ต. ไทย ได้ลงนามบันทึกความร่วมมือโครงการ ARFP (Memorandum of Cooperation) ร่วมกับออสเตรเลีย ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ และนิวซีแลนด์ เพื่อเตรียมเปิดการเสนอขายกองทุนรวมข้ามประเทศต่อประชาชนทั่วไประหว่างกัน โดยการลงนามดังกล่าวถือเป็นการเห็นชอบหลักเกณฑ์และกรอบความร่วมมือต่าง ๆ ที่กำหนดไว้ใน Memorandum of Cooperation ร่วมกัน โดย Memorandum of Cooperation ได้มีผลใช้บังคับเมื่อ30 มิถุนายน 2559 ทั้งนี้ กรอบระยะเวลาการดำเนินงานของ ARFP สามารถดูได้ที่หน้าเพจ ARFP Milestones

ข้อมูลเกี่ยวกับประเทศสมาชิกที่เข้าร่วม ARFP หรือคุณสมบัติของประเทศที่สามารถเข้าร่วม ARFP สามารถดูได้ที่หน้าเพจ Membership of the ARFP


연혁

ARFP는 호주, 뉴질랜드, 대한민국, 일본 그리고 태국에 의해 운영되는 역내 시장 통합 구상 입니다.

ARFP의 출범은 존슨 리포트(the Johnson Report)로도 익히 알려진 호주금융센터 포럼(the Australian Financial Centre Forum)의 2010년 보고서에 의해 제안되었습니다.

ARFP에 대한 역내 관심을 고조시키기 위해, ARFP는 APEC 재무장관 프로세스(FMP, APEC Finance Ministers’ Process)를 통해 본격적으로 다뤄지기 시작하였습니다. FMP는 정책 토의나 역량 개발 워크숍과 같은 포럼에서 금융정책 입안자, 규제당국, 업계 및 기술 전문가 등 다양한 참가자와 협업할 수 있는 대화의 장을 마련하였습니다.

ARFP 국가의 회원 간 워크숍이 다수 진행된 결과, 실무적으로 보다 구체적인 협약을 도출하는 것을 목적으로 한 실무 그룹(Working Group)이 구성되었고 워크숍 참가국이 실무 그룹에 초대되었습니다. 초기에는 호주, 대한민국, 뉴질랜드, 싱가포르가 실무 그룹 참가 초청을 수락하였고, 이후 태국, 일본, 필리핀이 실무 그룹에 참가하였습니다.

2013년 9월 20일, 인도네시아 발리 누사 두아에 회동한 4개국 재무장관(호주, 대한민국, 뉴질랜드, 싱가포르)은 ARFP를 위한 의향서(SOI, Statement of Intent)에 서명하였습니다.

SOI에는 구체적인 패스포트 체계에 대한 공개 의견을 청취 및 취합하겠다는 서명국 간의 합의사항이 개괄되어있고, ARFP 이행에 대한 추적 관리 프로세스에 대한 상세한 설명이 있습니다.

2015년 9월 11일, 6개국 재무장관(호주, 일본, 대한민국, 뉴질랜드, 태국, 필리핀)은 ARFP를 위한 양해서(SOU, Statement of Understanding)에 서명하였습니다. SOU에는 서명국의 ARFP 참가 의지가 시사되었을 뿐만 아니라 추후 적절한 시기와 상황에 모든 APEC 국가의 참가로 확대하겠다는 의도가 반영되었습니다.

2016년 4월 28일, 4개국 정부 대표(호주, 일본, 대한민국, 뉴질랜드)는 ARFP를 위한 양해각서(MOC, Memorandum of Cooperation)에 서명하였고, 이후 태국도 서명에 참여하였습니다. MOC에는 ARFP의 근간이 되는 국제 공동규칙 및 협력 메커니즘이 상세히 설명되어있습니다. 이후 2016년 6월 30일에 MOC가 발효되었습니다.

ARFP의 주요 연혁은 본 웹 사이트의 ‘주요 연혁(the Milestones)’ 페이지에서 확인할 수 있습니다. ARFP의 현재 참가국에 대한 정보와 ARFP 가입 신청에 대한 정보는 본 웹 사이트의 ‘ARFP 회원(Membership of the Asia Region Funds Passport)’ 페이지에서 확인할 수 있습니다.